ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 1
อาชีพนั้น เราก็สามารถเลือกได้ และเมื่อทำไปแล้ว เกิดไม่ชอบใจขึ้นมา ก็สามารถเปลี่ยนอาชีพใหม่ได้ไม่ยากนัก แต่วิชาชีวิตนั้น คนส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยรู้กันเลยว่า ต้นแบบชีวิตที่ดีที่สุดนั้นเป็นเช่นไร ควรจะเลือกดำเนินชีวิตอย่างไร และทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีคุณค่าสูงสุด
อานิสงส์ของกัลยาณมิตร-ที่นี่มีคำตอบ
ลูกและเพื่อนๆ เป็นเจ้าหน้าที่มูลนิธิธรรมกาย ช่วยงานวัดมาแล้ว ๑๘ ปี ทำหน้าที่ชักชวนสาธุชนให้มาสร้างบุญในโครงการต่างๆ ของวัด ลูกและเพื่อนๆ จะได้อานิสงส์อย่างไรบ้างคะ
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 106
อาจารย์ทั้ง ๔ เมื่อต่างก็ต้องมาตกอยู่ในภาวะคับขัน ที่เหลียวมองไปทางใดก็ยังไม่เห็นว่าจะมีทางรอดพ้นไปได้ ความเหิมเกริมคิดจะชิงดีชิงเด่นกับมโหสถบัณฑิตจึงหมดสิ้นไปจากใจ เปลี่ยนไปเป็นความหวาดกลัวต่อเงื้อมมือแห่งมฤตยู ที่กำลังมายื่นรอปลิดชีวิตของพวกตนอยู่ต่อหน้า
มีทุกอย่างที่ชาวโลกต้องการ แต่สละเพื่อเสด็จออกผนวช - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน มีทุกอย่างที่ชาวโลกต้องการ แต่สละเพื่อเสด็จออกผนวช
เราชนะแล้ว
เพราะความตระหนี่และความประมาท คนเราจึงให้ทานไม่ได้ ผู้มีปัญญาเมื่อต้องการบุญ พึงให้ทานเถิด
ศาสดาเอกของโลก (3)
พระพุทธเจ้า ผู้มีพระมหากรุณาอันยิ่งใหญ่ บำเพ็ญบารมีทุกประการจนเต็มเปี่ยม บรรลุพระสัมโพธิญาณอันสูงสุด ด้วยอำนาจแห่งการนอบน้อมนั้น ขอความชนะและความเป็นมงคล จงบังเกิดมีแก่ข้าพระพุทธเจ้า...
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๑ (เทวสันนิบาต)
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นเหตุแห่งสุข ภิกษุผู้ยินดีในความพร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากธรรมอันเกษมจากโยคะ
กระแสแห่งกรรม (๒)
ภิกษุทั้งหลาย โลสกติสสะผู้นี้ ได้ประกอบกรรมคือ ความเป็นผู้มีลาภน้อย และความเป็นผู้ได้อริยธรรมของตนด้วยตนเอง เนื่องด้วยครั้งก่อนเธอกระทำอันตรายลาภของผู้อื่น จึงเป็นผู้มีลาภน้อย แต่เป็นผู้บรรลุอริยธรรมได้ด้วยผลที่บำเพ็ญวิปัสสนา คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
คุณสมบัติของผู้บวชในพระพุทธศาสนา
ในช่วงฤดูร้อนของทุกปีจะมีโครงการบรรพชาและอุปสมบทหมู่ภาคฤดูร้อนทั่วประเทศ ซึ่งเป็นโอกาสที่เหล่ากุลบุตรจะได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้ธรรมะและปฏิบัติธรรมเพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต และเพื่อการเป็นพุทธบริษัท ๔ ที่ดี
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - คบบัณฑิตพิชิตปัญหา
ในเวลาเย็น ทั้ง ๔ ท่าน ต่างออกจากที่พักของตน และได้พบกันโดยบังเอิญ ด้วยบุญเก่าที่เคยเกิดเป็นเพื่อนกันมาก่อน ทำให้รู้สึกรักใคร่ชอบใจกันเป็นพิเศษ จึงพูดคุยสนทนากันอย่างถูกคอ ทั้ง ๔ ท่านได้ตั้งคำถามขึ้นมาว่า การสมาทานอุโบสถศีลของพวกเรา ใครจะเป็นผู้มีศีลมากกว่ากัน ต่างฝ่ายต่างก็คิดว่า ตนมีศีลมากกว่าคนอื่น